วันอาทิตย์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่15

วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ แจ่มถิ่่น
วันที 25 พฤศจิกายน พ.ศ.2557
 ครั้งที่ 14กลุ่มเรียน 104
เวลา 15.00 - 17.00 น.


เนื่องจากดิฉันไม่สามารถอัพโหลดมายแมพได้ ขอใส่เป็นเนื้อหาแทนคะ

วันนี้เรียนเรื่องเด็กสมาธิสั้น วิธีการส่งเสริม บทบาทของครู บทบาทของผู้ปกครอง ที่ควรส่งเสริมเด็ก

จากนั้นอาจารย์ให้ดูวิดีโอการส่งเสริมเด็กพิเศษของหน่วยงานราชภัฎสวนดุสิต ซึ่งกิจกรรมที่ทางหน่วยงานจัดให้ก็จะเป็นกิจกรรมที่พัฒนาทักษะทั้ง4ด้าน ของเด็กพิเศษเพื่อให้เด็กมีสมาธิเพิ่มขึ้น ลดภาวะความกดดันหรือความตึงเครียดที่เกิดขึ้นกับเด็ก


การนำความรู้ไปใช้

     เมื่อเราทราบแล้วว่าเด็กสมาธิสั้นมีพฤติกรรมเป็นอย่างไร ครูและผู้ปกครองไม่ควรใช้วิธีที่ทำให้เด็กเกิดความคับข้องใจ ไม่กล้าที่จะทำอะไร แต่บทบาทของครูควรจะส่งเสริมเด็กโดยการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ให้เด็กได้มีพัฒนาการที่ดีทั้ง4ด้าน อย่างครบถ้วน และไม่ควรละเลยเด็ก


ประเมินผล

ประเมินตนเอง ตั้งใจเรียน มาเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย ยังไม่ค่อยมีสมาธิในการดูวิดีโอ เนื่องจากมีเสียงดังรบกวน แต่สามารถจับใจความสำคัญของเรื่องได้ว่าทางหน่วยงานได้จัดกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อส่งเสริมเด็กพิเศษ

ประเมินเพื่อน เพื่อนตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือเมื่ออาจารย์ต้องการยกตัวอย่างเด็กพิเศษมีการถามในสิ่งที่สงสัยแลละสามารถตอบคำถามอาจารย์ได้

ประเมินอาจารย์  อาจารย์น่ารักมากๆเลย ยกตัวอย่างประกอบทุกครั้งเพื่อให้เห็นภาพชัดเจน คุยหยอกล้อกับนักศึกษาเป็นกันเอง





บันทึกอนุทินครั้งที่14

วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ แจ่มถิ่่น
วันที18 พฤศจิกายน พ.ศ.2557
 ครั้งที่ 14กลุ่มเรียน 104
เวลา 15.00 - 17.00 น.







วันนี้อาจารย์งดการเรียนการสอน เนื่องจากติดกิจกรรมครูปฐมวัยร่วมใจอนุรักษ์สืบทอดความเป็นไทยใน

รายวิชาของอาจารย์นุตรา








บันทึกอนุทินครั้งที่13




วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ แจ่มถิ่่น
วันที่ 11 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2557
 ครั้งที่ 13 กลุ่มเรียน 104
เวลา 15.00 - 17.00 น.


วันนี้อาจารย์ให้ดูวิดีโอเกี่ยวกับการบำบัดเด็กพิเศษ โดยการใช้ม้าเป็นตัวช่วย
ซึ่งมีความเชื่อว่าม้าจะสามารถช่วยบำบัด หรือลดภาวะของเด็กพิเศษได้



การนำไปใช้  

          นำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการสอนหรือให้ความรู้ผู้ปกครองในการใช้สัตว์บำบัดเด็กพิเศษ

ประเมิน 

ตนเอง :   มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน แต่งกายเรียบร้อย และความเข้าใจการบำบัดสำหรับเด็กพิเศษเพิ่มขึ้นในระดับหนึ่ง

เพื่อน : แสดงความคิดเห็นในเรื่องที่อาจารย์สอน สนใจ โต้ตอบและเข้าใจเนื้อหา

อาจารย์ : อาจารย์ขยายความจากวิดีโอเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้น ยกตัวอย่าง สัตว์ที่ช่วยบำบัดเด็กพิเศษได้ เช่น แมว

บันทึกอนุครั้งที่11

วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ แจ่มถิ่่น
วันที่ 28  ตุลาคม พ.ศ.2557
 ครั้งที่ 9 กลุ่มเรียน 104
เวลา 15.00 - 17.00 น.





วันนี้อาจารย์เฉลยข้อสอบจากการสอบกลางภาค

          ซึ่งดิฉันได้จดข้อสอบที่ผิดเพื่อแก้ไขความเข้าใจใหม่และจะนำไปใช้ความรู้ที่ถูกต้อง

ประเมินผล

  ตนเอง:ดิฉันมีความเข้าใจในการสอบครั้งนี้ และใส่ใจที่อาจารย์สอนมาทุกเรื่อง ทำให้มีความพร้อมที่จะสอบจะครั้งนี้

   เพื่อน:ตั้งใจฟังที่อาจารย์สอนทุกอย่าง

   อาจารย์:อาจารย์มีความตั้งใจที่จะบอกแนวข้อสอบทุกข้อ เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในเนื้อหา  และทำข้อสอบได้ทุกคน
   

บันทึกอนุทินคั้งที่ 10

วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ แจ่มถิ่่น
วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.2557
 ครั้งที่ 9 กลุ่มเรียน 104


เวลา 15.00 - 17.00 น.












สอบกลางภาค

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

วิชา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ แจ่มถิ่่น
วันที่ 14  ตุลาคม พ.ศ.2557
 ครั้งที่ 9 กลุ่มเรียน 104
เวลา 15.00 - 17.00 น.

หมายเหตุ เนื่องจากมีปัญหาขัดข้องไม่สามารถอัพโหลดเป็นมายแมปได้จึงขอใส่เป็นข้อความเนื่อหาค่ะ



การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

Down's Syndrome


แนวทางการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ
1. ด้านสุขภาพอนามัย
  • แนะนำบิดา มารดาให้พาบุตรไปพบแพทย์ตั้งแต่แรก
  • ติดตามการรักษาเป็นระยะๆ
2. การส่งเสริมพัฒนาการ 
  • ส่งเสริมให้ครบทั้ง 4 ด้าน
  • เด็กกลุ่มอาการดาวน์ สามารถพัมนาได้ ถ้าได้รับการฝึกสอนที่เหมาะสม
3. การดำรงชีวิตประจำวัน
  • ฝึกให้ช่วยเหลือตนเองให้ได้มากที่สุด
  • รู้จักควบคุมตนเอง มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
4. การฟื้นฟูสมรรถภาพ
  • การฟื้นฟูสมรรถภาทางการแพทย์
  • การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ

Autistic


1. ส่งเสริมความเข้มแข็งครอบครัว
  • ครอบครัวมีบทบาทสำคัญที่สุดในกระบวนการดูแลช่วยเหลือ
  • เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับออทิสติก
2. ส่งเสริมความสามารถเด็ก
  • มุ่งส่งเสริมความสามารถที่เด็กมีควบคู่ไปด้วย
  • ได้ทำกิจกรรมที่หลากหลาย
3. พฤติกรรมบำบัด
  • ส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมให้คงอยู่ต่อเนื่อง
  • หยุดพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
4. การส่งเสริมพัฒนาการ
  • ยึดหลักและลำดับขั้นพัฒนาการของเด็กปกติ
  • เน้นในเรื่องการมองหน้า สบตา
5. การบำบัดทางเลือก
  • การสื่อความหมายทดแทน
  • ศิลปกรรมบำบัด


สิ่งที่จะนำไปพัฒนา

จะนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้ผู้ปกครองเด็กพิเศษในแต่ละด้านดังที่กล่าวมาข้างต้น และเสริมสร้างความมั่นใจให้เด็กเพื่อให้เด็กเกิดความไว้วางใจ


ประเมินผล

ประเมินตนเอง ตั้งใจเรียนดี ฟังที่อาจารย์สอน

ประเมินเพื่อน เพื่อนๆสนใจเรียนกันทุกคน มีคุยกันเล็กน้อย เพื่อนๆช่วยกันตอบคำถามที่อาจารย์ถาม 

ประเมินอาจารย์ อาจารย์สอนสนุก มีการยกตัวอย่างประกอบคำบรรยาย ใส่ใจนักศึกษา